ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ที่เกิดขึ้น
พบได้ 3 รูปแบบดังนี้
การเกิดพันธะระหว่างอะตอม 2 อะตอม ทำให้มีการใช้อิเล็กตรอนร่วม
กัน 1 คู่เรียกพันธะที่เกิดขึ้นว่า พันธะเดียว (Single Bond) เช่น
พันธะในไฮโดรเจน H - Hและพันธะในไฮโดรเจนคลอไรด์ H – CI
กัน 1 คู่เรียกพันธะที่เกิดขึ้นว่า พันธะเดียว (Single Bond) เช่น
พันธะในไฮโดรเจน H - Hและพันธะในไฮโดรเจนคลอไรด์ H – CI
การเกิดพันธะระหว่างอะตอม 2 อะตอม ทำให้มีการใช้อิเล็กตรอนร่วม
กัน 2 คู่เรียกพันธะที่เกิดขึ้นว่าพันธะคู่ (Double Bond) เช่น
พันธะในออกซิเจน O = O
กัน 2 คู่เรียกพันธะที่เกิดขึ้นว่าพันธะคู่ (Double Bond) เช่น
พันธะในออกซิเจน O = O
การเกิดพันธะระหว่างอะตอม 2
อะตอม ทำให้มีการใช้อิเล็กตรอนร่วม
กัน 3 คู่เรียกพันธะที่เกิดขึ้นว่า พันธะสาม (Triple Bond) เช่น พันธะในไนโตรเจน
N -N ทั้งนี้ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม มักพบในตัวอย่างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ชนิด อัลเคน (alkane)อัลคีน (alkene) และอัลไคน์ (alkyne)
กัน 3 คู่เรียกพันธะที่เกิดขึ้นว่า พันธะสาม (Triple Bond) เช่น พันธะในไนโตรเจน
N -N ทั้งนี้ พันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม มักพบในตัวอย่างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
ชนิด อัลเคน (alkane)อัลคีน (alkene) และอัลไคน์ (alkyne)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น